วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2558

แหล่งท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพะเยา

จังหวัดพะเยา มีแหลงทองเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งทางธรรมชาติ โบราณสถานและประวัติศาสตร ศิลปกรรม และวัฒนธรรมประเพณี โดยมีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญดังนี้

แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ


1. กวานพะเยา 
          “กวานพะเยา” หรือ “หัวใจของเมืองพะเยา” อยูในเขตอําเภอเมืองพะเยา เปนทะเลสาบน้ําจืด ใหญเปนอันดับ 1 ในภาคเหนือ และ อันดับ 4 ของประเทศไทย (รองจากบึงบอระเพ็ด, หนองหาน และบึงละหาน) คําวา "กวาน" ตามภาษาพื้นเมืองหมายถึง "บึง" เปนแหลงน้ําธรรมชาติอยูใจกลางเมืองพะเยา มีทิวเขาเปนฉาก หลัง เกิดจากน้ําที่ไหลมาจากหวยตางๆ 18 สาย มีปริมาณน้ําเฉลี่ยปละ 29.40 ลานลูกบาศกเมตร มีพันธปลาน้ําจืด กวา 48 ชนิด มีเนื้อที่ 12,831 ไร เปนแหลงเพาะพันธุปลาตางๆ ประกอบกับ ทัศนียภาพโดยรอบกวานพะเยา มีความสวยงามประทับใจแกผูพบเห็น จึงกลายเปนแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติอีกทั้งบริเวณริมกวานพะเยา มีรานอาหารและสวนสาธารณะใหประชาชนและนักทองเที่ยวไดพักผอนหยอนใจ เนื่องจากกวานพะเยาในอดีต แตเดิมเคยเปนที่ราบลุมแมน้ํามีสายน้ําอิงไหลพาดผานคดเคี้ยวทอดเปนแนวยาวไปตลอด จากทิศเหนือจรด ขอบกวานฯ ทางทิศตะวันออกเฉียงใตประกอบกับมีหนองน้ํานอยใหญหลายแหงและรองน้ําหลายสายที่ไหลลงมา จากขุนเขาดอยหลวงแลวเชื่อมติดตอถึงกัน ทําใหพื้นที่ราบลุมแมน้ําแหงนี้มีความอุดมสมบูรณเปนอยางมาก จึงทําใหพื้นที่แหงนี้มีผูคนเขามาตั้งถิ่นฐานอาศัยอยูเปนชุมชนนานนับตั้งแตโบราณ



2. อุทยานแหงชาติดอยหลวง 
          อุทยานแหงชาติดอยหลวงมีพื้นที่ครอบคลุมอยูในทองที่อําเภอแมสรวย อําเภอพาน อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง และอําเภอแมใจ อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา เปนอุทยานแหงชาติ ที่ไดยกฐานะมาจากวนอุทยานน้ําตกจําปาทอง วนอุทยานน้ําตกผาเกล็ดนาค วนอุทยานน้ําตกปูแกง และวนอุทยาน น้ําตกวังแกว รวม 4 แหง ที่มีพื้นที่ติดตอเปนผืนเดียวกัน มีสภาพธรรมชาติและจุดเดนเปนแหลงทองเที่ยว ที่มีความสวยงามมากแหงหนึ่งของภาคเหนือ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 1,170 ตารางกิโลเมตร หรือ 731,250 ไร อุทยานแหงชาติดอยหลวงไดประกาศใหเปนอุทยานแหงชาติ เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2533




3. น้ําตกจําปาทอง 
          น้ําตกจําปาทอง เปนน้ําตกที่พบเห็นในสภาพปาดิบชื้นทั่ว ๆ ไป มีลักษณะเปนน้ําตกสูงชัน น้ําใสสะอาด น้ําตกลงมาเปนสายคลายงาชาง หัวชางบาง ซึ่งราษฎรในทองถิ่นก็ตั้งชื่อชั้นของน้ําตกที่เห็นตามลักษณะ ของน้ําตกที่ปรากฏใหเห็น การเดินทางมีถนนลาดยาง แยกจากถนนสายเชียงราย - พะเยา ตรงหลักกิโลเมตรที่ 7 กอนจะถึงตัวจังหวัดพะเยาเดินทางเขาไปอีกประมาณ 16 กิโลเมตร ก็ถึงบริเวณน้ําตก



4. อางเก็บน้ําหวยชมพู– ผาเทวดา 
          อางเก็บน้ําหวยชมพู–ผาเทวดา มีกิจกรรมที่นิยมในการทองเที่ยว คือเดินปาและโรยตัวหนาผาเทวดา เดิมเรียกวา “หนาผากิ่งปาแฝด” แตภายหลังเรียกวา “หนาผาเทวดา” บริเวณนี้มีถ้ํานอยใหญอยูกวาสิบแหง ควรแวะพักผอนเตรียมความพรอมของรางกายคางคืนที่โฮมเสตยบานสันโคงกอน เพื่อเตรียมตัวสําหรับการเดินปา ปนผาเทวดา ตั้งแตการโรยตัว ณ จุดโรยตัวโดยจะตองนั่งรถขับเคลื่อนสี่ลอไปถึงจนสุดของถนน พรอมเดินเทา ประมาณ 3กิโลเมตร เสนทางคอนขางลําบากและทาทาย ใชระยะเวลาการเดินประมาณ 3ชั่วโมง เหมาะแกนักผจญภัย สวนอุปกรณสําหรับโรยตัว ถุงมือ หมวกตะขอเหล็กล็อค ฯลโดยทางอบต.สันโคง ไดจัดเตรียมใหบริการอยางครบครัน โดยจะจัดใหมีการโรยตัวที่ความสูง 25 เมตร, 50 เมตร และ 110 เมตร พรอมเจาหนาที่ที่ชํานาญคอยใหการแนะนํา การโรยตัวและดูแลความปลอดภัยอยางใกลชิด เหมาะกับนักทองเที่ยวที่ชอบธรรมชาติและรักความตื่นเตน ระหวางทางที่เดินไปกลับหนาผาเทวดานั้น จะเดินทางผานถ้ําฝนแสนหา ซึ่งเปนถ้ําที่มีน้ําตกไหลลงมาคลายสายฝนและจะพบนกยูงมากในชวงปลายฝนตนหนาวและจะมีดอกไมปาขึ้นอยูบริเวณน้ําตกหวยชมพู โดยเฉพาะบริเวณ ชั้นที่ 3 ของน้ําตก เรียกวา “ตาดหัวชาง”




5. หนองเล็งทราย
          การเดินทางมาทองเที่ยวหนองเล็งทรายนั้น ตองใชถนนทางหลวงหมายเลข 1 มุงหนาสูทิศเหนือ พะเยา-เชียงราย มาจนถึงแยกศรีบุญเรือง เลี้ยวขวาเขาถนนพหลโยธินสายใน เดินทางประมาณ 1 กิโลเมตร ถึงวัดโพธารามทางดานซายมือ แตใหเลี้ยวซายเขาถนนขางวัดไปจนสุดทางถนนจะพบกับหนองน้ําแหงอําเภอแมใจ เปนหนองน้ําขนาดใหญแหงนี้มีเนื้อที่ประมาณ 5,500 ไร ครอบคลุมหลายตําบล ทัศนียภาพสวยงามมาก



6. อุทยานแหงชาติภูซาง 
          จากขอมูลของกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ไดกลาวถึง“อุทยานแหงชาติภูซาง” นั้นมีขนาดพื้นที่ประมาณ 284.8ตารางกิโลเมตร (17,8049.62 ไร) อยูในเขตระหวางอําเภอเทิง จ.เชียงราย กับ อ.ภูซาง ถึง อ.เชียงคํา จ.พะเยา และมีอาณาเขตติดตอกับ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว



7. อุทยานแหงชาติดอยภูนาง 
          อุทยานแหงชาติดอยภูนางมีสิ่งนาสนใจมากมายโดยเฉพาะนกยูงและน้ําตกตางๆ มีเนื้อที่ประมาณ 538,124 ไร หรือ 861 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 3 อําเภอ ไดแก อ.เชียงมวน อ.ปง อ.ดอกคําใต สภาพปา สวนใหญเปนปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง มีสัตวปาหายากหลายชนิด เสือปลา แมวลายหินออน แมวดาว เลียงผา ตัวนิ่ม ฯลฯ ที่สําคัญคือ นกยูง



 แหลงทองเที่ยวทางดานประวัติศาสตรและโบราณสถาน


1. วัดศรีโคมคํา 
          วันศรีโคมคํา เปนพระอารามหลวงชั้นตรี และวัดพัฒนาตัวอยาง ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองพะเยา ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกวา "วัดพระเจาองคหลวง" หรือ "วัดพระเจาตนหลวง" มีพระพุทธรูปองคใหญที่สุด ในลานนาไทย ขนาดหนาตักกวาง 14 เมตร สูง 16 เมตร มีประวัติกลาวถึงอยางพิสดารวา ปรากฏพญานาค ไดนําทองคํามาใหตายายคูหนึ่ง ที่ตั้งบานอยูริมกวานพะเยา เพื่อสรางพระพุทธรูปองคนี้ ซึ่งตายายคูนี้ใชเวลา สรางถึง 33 ป (พ.ศ. 2034 - 2067) และกาลตอมาเรียกวา "พระเจาองคหลวง" ในปจจุบันพระเจาองคหลวง มิใชเปนแตเพียงพระพุทธรูปคูเมืองพะเยาเทานั้น แตถือเปนพระพุทธรูปคูบานคูเมืองอาณาจักรลานนาไทยดวย โดยในเดือนพฤษภาคมจะมีงานนมัสการพระเจาองคหลวงเปนประจําทุกป เรียกวา "งานประเพณีนมัสการ พระเจาองคหลวงเดือนแปดเปง"



2. วัดติโลกอาราม 
          วัดติโลกอาราม เปนโบราณสถานแหงหนึ่งที่จมอยูในกวานพะเยาคนพบในป พ.ศ. 2482 กรมประมงสรางประตูกั้นน้ําในกวานพะเยาเพื่อกักเก็บน้ํา เปนวัดที่พระเจาติโลกราช แหงราชอาณาจักรลานนา โปรดใหพระยายุทธิษถิระ เจาเมืองพะเยา สรางขึ้นในราวป พ.ศ. 2019-2029 ในบริเวณที่เรียกวา “บวกสี่แจง” ซึ่งแตเดิมเปนชุมชนโบราณ และมีวัดอยูเปนจํานวนมาก โดยวัดแหงนี้เปนชื่อวัดที่ปรากฏอยูในศิลาจารึก ซึ่งถูกคนพบไดในวัดรางกลางกวานพะเยาหรือในบริเวณหนองเตา จากขอความที่ปรากฏในศิลาจารึก ทําใหรูวาวัดนี้ มีอายุเกาแก มากกวา 500 ป สรางในสมัยพระเจาติโลกราช กษัตริยผูครองเมืองเชียงใหม วัดนี้มีความสําคัญ ทางประวัติศาสตรเนื่องจากผูปกครองเมืองพะเยาไดสรางถวาย เพื่อเปนการเทิดพระเกียรติแกพระเจาติโลกราช ในฐานะทรงเปนกษัตริยผูยิ่งใหญแหงอาณาจักรลานนา



3. วัดอนาลโยทิพยาราม
          “วัดอนาลโยทิพยาราม” หรือ “ดอยบุษราคัม” ตั้งอยูบนดอยบุษราคัม บานสันปามวง หมูที่ 6 ต.สันปามวง จังหวัดพะเยา จากตัวเมืองไปเสนทางพะเยา - เชียงราย ประมาณ 7 กม.แยกซายไปตามทางหลวง หมายเลข 1127 ประมาณ 9 กิโลเมตร สรางโดยพระปญญาพิศาลเถร (พระอาจารยไพบูลยฯ) เปนอุทยาน พระพุทธศาสนา มีศาสนสถานที่สวยงามไดแก พระพุทธรูปศิลปสุโขทัยองคใหญ พระพุทธรูปปางตางๆ พระพุทธลีลา พุทธคยาเกงจีนประดิษฐานเจาแมกวนอิม หอพระแกวมรกตจําลองทําดวยทองคํา ฯลฯ มีบรรยากาศรมรื่น พื้นที่กวางขวาง แวดลอมไปดวยทรัพยากร ปาไม จากยอดดอยสามารถชมความสวยงามของทัศนียภาพของกวานพะเยา และตัวเมืองของพะเยา โดยสามารถเดินทางทองเที่ยวที่วัดอนาลโยใน 2 ลักษณะตามอัธยาศัยทั้งทางรถยนต และทางบันไดเดินเทา โดยทางวัดไดจัดที่พักลักษณะรีสอรท เพื่อบริการนักทองเที่ยวไวแลวอยางครบครัน



4. โบราณสถานเวียงลอ 
          สถานที่ตั้งของโบราณสถานเวียงลอหางจากตัวอําเภอจุนไปตามทางหลวงหมายเลข1021ถึงบานหวยงิ้ว ประมาณ 17 กิโลเมตร มีทางแยกเปนทางเดินถึงบานน้ําจุน รวม 12 กิโลเมตร ถัดมาจะพบทางแยกเปนทางเดิน ถึงบานน้ําจุนอีก 12 กิโลเมตร ปรากฏซากกําแพงเมืองเกา วัดรางอยูมากมาย จะมีพระธาตุและวัดเกาแก คือ วัดศรีปงเมือง เมืองลอหรือเวียงลอ มีคูเมืองและกําแพงคันดิน 1 - 2 ชั้น ลอมรอบ ตั้งอยูที่ราบระหวาง เชิงดอยจิกจองและแมน้ําอิง 



5. วัดพระธาตุจอมทอง 
          วัดพระธาตุจอมทอง ศาสนสถานที่เปนจุดหมายปลายทางดานการทองเที่ยวที่สําคัญ ตั้งอยูบนดอยจอมทอง บริเวณริมกวานพะเยา อยูหางจากตัวเมือง 3 กิโลเมตร อยูตรงขามวัดศรีโคมคํา มีทางรถยนตขึ้นไป ถึงยอดเขา ภายในวัดมี "พระธาตุจอมทอง" เปนเจดียทรงลานนาสูง 30 เมตร ตั้งอยูบนฐานสี่เหลี่ยมจตุรัส กวาง 9 เมตร ซอนกันสามชั้น รองรับองคระฆัง สวนยอดสุดเปนฉัตรสีทอง ฐานโดยรอบขางลางบุดวยแผนโลหะ ดุนลายเปนรูป 12 นักษัตร และลายไทยอันงดงามมาก ลักษณะคลายพระธาตุหริภุญชัย ของจังหวัดลําพูน โดยวัดพระธาตุจอมทอง ตั้งอยูบนเนินเขาตรงขามวัดศรีโคมคํา ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา จากสี่แยก ประตูชัย ทางหลวงหมายเลข 1 มุงหนาสูแมใจ 2.5 กิโลเมตร มีถนนเสนทางแยกดานซายมือซึ่งผานหอสมุด แหงชาติเฉลิมพระเกียรติประมาณ 300 เมตร ที่ตั้งวัดอยูทางดานขวามือ สําหรับความเปนมานั้นเลากันวา พระพุทธเจาเคยเสด็จมาเผยแผพระพุทธศาสนาที่เมืองภูกามยาว ประทับแรมบนดอย ตั้งอยูบนฝงหนองเอี้ยง ทางทิศเหนือ และพระองคทรงมอบพระเกศธาตุองคหนึ่ง เพื่อนําไปประดิษฐานไวในถ้ําบนดอยนั้น ซึ่งเปนถ้ําลึก กวา 70 วา



6. ศูนยวัฒนธรรมไทลื้อ 
          ศูนยวัฒนธรรมไทลื้อ ตั้งอยูที่วัดหยวนใน อําเภอเชียงคํา จัดตั้งเปนศูนยแสดงผลงาน ทางศิลปวัฒนธรรมและฝกอาชีพของชาวไทยลื้อ โดยเฉพาะผาของชาวไทยลื้อที่มีลวดลายและสีสันสดใส ในอดีตชาวไทยลื้อมีถิ่นอาศัยอยูในเขตสิบสองปนนามณฑลยูนาน ประเทศสาธารณะรัฐประชาชนจีน มีพื้นที่ ประมาณ 25,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่สวนใหญเปนภูเขามีที่ราบแคบอยูตามหุบเขาและลุมแมน้ํา อันเปนบริเวณ ที่อยูอาศัยและที่ทํามาหากินของชาวไทลื้อ โดยเฉพาะการทํานาที่ลุมเชนเดียวกับคนไทยทั่วไป มีแมน้ําโขง เปนแมน้ําสายสําคัญที่ไหลผานแควนสิบสองปนนา ซึ่งชาวไทยลื้อเรียกวา "แมน้ําของ" ในป พ.ศ. 2399 เจาสุริยพงษ ผริตเดช ผูครองนครนาน ไดอพยพมาอยูที่บานทาฟาเหนือและทาฟาใตอําเภอเชียงมวน หลังจากนั้นมีบางสวนไดอพยพมาอยูที่อําเภอเชียงคํา ชาวไทลื้อมีอุปนิสัยรักสงบ ขยันอดทน นอกจากนั้น ยังเปนผูที่อนุรักษวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมไวอยางดีโดยเฉพาะวัฒนธรรมการแตงกาย เปนตน


7. อนุสาวรียพอขุนงําเมือง 
          อนุสาวรียพอขุนงําเมือง ประดิษฐานอยูที่สวนสาธารณะเทศบาลเมืองพะเยา (สวนสมเด็จยา 90) ถนนเลียบกวานพะเยา พอขุนงําเมืองเปนกษัตริยผูปกครองเมืองภูกามยาว ลําดับที่ 9 เปนยุคที่เจริญรุงเรืองมาก พระองคทรงเปนพระสหายรวมน้ําสาบานกับพอขุนเม็งรายแหงเมืองเชียงราย และพอขุนรามคําแหงมหาราช แหงกรุงสุโขทัย ซึ่งทั้งสามพระองคไดกระทําสัตยตอกัน ณ แมน้ําอิงสวนพระองคนั้น พอขุนงําเมืองเปนผูทรงอิทธิฤทธิ์ เลาขานสืบตอกันวา ยามเมื่อพระองคทรงเสด็จประพาสเยี่ยมเยือน ณ แหงหนใด “แดดก็บอฮอน ฝนก็บอฮํา จักใหบดก็บด” พรองกับพระนาม “งําเมือง”



8. พิพิธภัณฑเวียงพยาว (วัดลี)
          “พิพิธภัณฑเวียงพยาว” หรือ“วัดลี”มีความเปนมา…บนเสนทางยาวไกลจุดเริ่มตนนั้น เกิดจากแรงบันดาลใจ และความสํานึกรักถิ่นเกิดของ พระครูอนุรกษบุรานันท เจาคณะอําเภอเมืองพะเยาเจาอาวาสวัดลี ที่ทานไดเล็งเห็นคุณคา โบราณวัตถุซึ่งเปนสมบัติของชาติจํานวนมากถูกทอดทิ้งอยูตามวัดรางตางๆ ในพื้นที่จังหวัดพะเยา จึงอนุรักษ และนํามาเก็บรักษาไวที่วัดลี เพื่อมิใหสูญหายรวมระยะเวลากวา50 ปที่ผานมา ทําใหโบราณวัตถุมีจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั้งไมมีสถานที่เก็บเพียงพอ จึงดําริที่จะตั้งพิพิธภัณฑทองถิ่นขึ้นมา เพื่อใหเปนแหลงรวบรวมโบราณวัตถุ และเปนแหลงเรียนรูทางดานประวัติศาสตรโบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมของเมืองพะเยาอีกแหลงหนึ่ง ถือเปนจุดเริ่มตนในกาวแรก แตจะใหสําเร็จไดอยางเปนรูปธรรมตอเนื่องและยั่งยืนไดนั้นยังขาดงบประมาณ มาสนับสนุนอยางพอเพียง กระทั้งถึงป พ.ศ. 2549 ทางจังหวัดพะเยา โดยนาย ธนเษก อัศวานุวัตร ผูวาราชการจังหวัด ไดมีนโยบายเรงดวน ผลักดันโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑวัดลีอยางจริงจังและเปนรูปธรรม พรอมกันทุกๆ ฝาย ทั้งภาครัฐ เอกชน และคนในชุมชนวัดลี รวมใจกันสนับสนุน จนกระทั้งสามารถจัดตั้งพิพิธภัณฑฯ ประสบผลสําเร็จ ในป พ.ศ. 2550 ขึ้นมา



9. หอวัฒนธรรมนิทัศน
         หอวัฒนธรรมนิทัศนเปนสถานที่จัดแสดงวัตถุโบราณ รวมถึงเอกสารขอมูลสําคัญทางประวัติศาสตร ดานวรรณกรรม ภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และวิถีความเปนอยูของชาวบานในจังหวัดพะเยา เปนผลงานแหงความอุตสาหพยายามในการสืบเสาะและเก็บรักษาของหลวงพอพระอุบาลีคุณูปมาจารย เจาอาวาสวัดศรีโคมคํา นานกวา 43 ปประกอบไปดวย ซากปรักหักพังและปติมากรรมในยุคหินทรายของเมืองพะเยา (พุทธศตวรรษที่ 20 -22) อาทิ สวนเศียรและสวนองคพระพุทธรูปที่แตกหัก, ชางเอราวัณ 4 เศียร, ดอกบัวหินทราย, ถวยชามเวียงกาหลง เปนตน



10. วัดพระนั่งดิน 
          วัดพระนั่งดิน เปนวัดที่องคพระประธานของวัดไมมีฐานรองรับเหมือนกับพระประธานองคอื่นๆ เคยมีราษฎรสรางฐานรองรับเพื่ออัญเชิญพระประธานขึ้นประดิษฐานบนฐานรองรับ แตปรากฏวาไมสามารถจะยก องคพระประธานขึ้นได แมจะพยายามยกดวยวิธีการตางๆ ที่เหมาะสมก็ไมสามารถยกขึ้นไดจึงเรียกสืบตอกันมาวา “พระนั่งดิน”ตามตํานานกลาววา พระพุทธรูปนี้ถูกสรางขึ้นมาตั้งแตครั้งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจายังทรงพระชนมอยู ดังนั้น พระเจานั่งดินนาจะมีอายุกวา 2500 ปและตามประวัติกลาวถึงอีกวา ในการสรางพระพุทธรูปนี้ใชเวลา 1 เดือน 7 วัน จึงเสร็จ เมื่อสรางเสร็จไดประดิษฐานไวบนพื้นราบโดยไมมีฐานชุกชีดังพระพุทธรูปอื่นๆ ทั่วไป



11. วัดนันตาราม 
          วัดนันตาราม ตั้งอยูบริเวณตลาดเทศบาลตําบลเชียงคํา ไมปรากฏวาสรางมาตั้งแตสมัยใด เปนวัดประจําชุมชน ชาวไทยใหญ เดิมเรียก “วัดจองคา” เพราะมุงดวยหญาคา (คําวา “จอง” เปนภาษาไทยใหญ หมายถึง วัด) พุทธศาสนิกชนชาวไทยใหญเปนผูสราง โดย พอหมอง โพธิ์ขิ่น บริจาคที่ดินเนื้อที่ 3 ไรเศษ เปนสถานที่กอสราง พอเฒาอุบล เปนประธานในการกอสรางจนสรางสําเร็จเรียบรอย มีฐานะเปนอารามหรือสํานักสงฆ โดยประชาชนทั่วไปนิยมเรียก “วัดจองเหนือ”



12. วัดพระธาตุสบแวน 
          ที่วัดพระธาตุสบแวนแหงนี้มีสิ่งนาสนใจหลายอยาง อาทิบานชาวไทลื้อ ตนจามจุรีขนาดใหญ อายุกวา 100 ป เจดียอายุเกาแกกวา 800 ป บานชาวไทลื้อที่ตั้งอยูภายในวัดมีศูนยหัตถกรรมทอผา จากผูหญิงสูงอายุในหมูบาน งานหัตถกรรมจากผาฝาย มีใหซื้อขายและไดชมวิธีการทอผา สามารถเขาชมเรือน ไทลื้อเพื่อรูถึงวิถีชีวิตความเปนอยูของชาวไทลื้อไดอยางละเอียด และจุดสําคัญ พระธาตุสบแวนซึ่งตั้งอยูดานหลัง ของวิหารภายในวัดนั้น เปนเจดียเกาแกที่มีอายุมากกวา 800 ปี



13. วัดแสนเมืองมา
           “วัดแสนเมืองมา” มาจากชื่อหมูบาน “มาง” ในสิบสองปนนา ประเทศจีน สถาปตยกรรมภายในวัด สรางตามแบบศิลปะไทลื้อ รวมไปถึงปายตางๆ ในบริเวณวัดมีทั้งภาษาไทยและภาษาจีน เนื่องจากมีชาวไทลื้อ เดินทางไปมาหาสูระหวางประเทศไทยกับสิบสองปนนา นักวิชาการตางสันนิษฐานกันวา วัดนาจะถูกสรางขึ้น ในสมัยยุคตนกรุงรัตนโกสินทรเพราะมีหลังคามุงแปนเกล็ดไมงดงามมากซึ่งเปนศิลปะไทลื้อ หนาบันเปนไมแกะสลัก รูปเทพนม บนพื้นสลักลายสวยงาม บันไดทางเขาเปนรูปพญานาค ประตูดานขางทางเขามีรูปปนสิงหคูเฝาประตู ลวนแลวแตมีความสวยงามรวมสมัย



14. วัดหยวน 
          วัดหยวนเปนศูนยกลางแสดงผลงานทางศิลปวัฒนธรรมของชาวไทลื้อ รวมทั้งเปนศูนยฝกอาชีพ โดยเฉพาะผาทอไทลื้อ ซึ่งมีลวดลายสีสันสดใสสวยงาม ที่ตั้งอยูไมไกลจากวัดแสนเมืองมาและสถานีขนสงมากนัก ตั้งอยูทางทิศเหนือมีระยะทางหางกันเพียง 500 เมตรโดยประมาณ นักทองเที่ยวสามารถเดินเทาเที่ยวชมได ตอเนื่องกันไป



15. วัดทาฟาใต
         วัดทาฟาใตเปนวัดที่สรางตามรูปแบบศิลปะไทลื้อที่งดงามมากอีกแหงหนึ่ง วิหารมีรูปแบบศิลปะไทลื้อ กออิฐถือปูน หลังคามุงแปนเกล็ดซอนกัน 3 ชั้น หนาบัน เปนลายเครือเถาแบบไทลื้อที่ประยุกตลายมาจากธรรมชาติ มีลายดอกไมบานอยูตรงกลาง ประดับดวยกระจกเงามีแนวคิดในการออกแบบศิลปกรรมโดยเชื่อวาเปนเสมือนสิ่งสะทอน ความชั่วรายมิใหมาทํารายกล้ํากรายไดโดยแตงแตมสีสันผานใบระกาเปนไมสักแกะสลักเปนรูปพญานาคเชิงชายฉลุลายน้ําหยด ซึ่งลวนแลวแตสื่อสารบงบอกเอกลักษณแหงศิลปะไทลื้อ





ที่มา : http://www.phayao.go.th/au/info/travel.pdf



















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น